สมบัติเชิงพีชคณิตของจำนวนเชิงซ้อน (Algebraic Properties of Complex Numbers)
ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงสมบัติของจำนวนเชิงซ้อนที่เกี่ยวข้องกับการบวก การคูณ ซึ่งเรียกว่า สมบัติพีชคณิตของจำนวนเชิงซ้อน เพิ่มเติมจากหัวข้อที่แล้ว
เอกลักษณ์และตัวผกผันการบวก
พิจารณาการบวกจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้
(a, b) + (0 , 0) = (a+0, b+0) = (a, b)
ทำนองเดียวกัน (0 , 0) + (a, b) = (a, b)
ดังนั้นจังกล่าวได้ว่า (0 , 0) เป็นเอกลักษณ์การบวกในระบบจำนวนเชิงซ้อน
ในระบบจำนวนจริง ตัวผกผันการบวกของจำนวนใดก็ตาม คือ จำนวนที่นำมาบวกกับจำนวนนั้นแล้วได้เอกลักษณ์การบวก ในระบบจำนวนเชิงซ้อนตัวผกผันการบวกของจำนวนเชิงซ้อนก็มีความหมายเช่นเดียวกัน
สังเกตว่า (a, b) + ( - a, - b) = (a - a, b - b) = (0, 0)
และ ( - a, - b) + (a , b) = (0 , 0)
ดังนั้น ( - a, - b) เป็นตัวผกผันการบวกของ (a , b)
หรือ - a - bi เป็นตัวผกผันการบวกของ a + bi
ตัวผกผันการบวกของจำนวนเชิงซ้อน z เขียนแทนด้วย - z
ฉะนั้น - (a +bi) = - a - bi
ตัวอย่างที่ 6 ตัวผกผันการบวกของ ( - 2 , 1) คือ (2, - 1)
ตัวผกผันการบวกของ 3+2i คือ - 3 - 2i
ตัวผกผันการบวกของ 1 - i คือ - 1+i
การลบจำนวนเชิงซ้อน
เราจะนิยามการลบกันของจำนวนเชิงซ้อน ดังนี้
บทนิยาม z - w = z + ( - w) สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z, w ใดๆ
ตัวอย่างที่ 2 จงหา (2 - 3i) - (4 - i)
วิธีทำ (2 - 3i) - (4 - i) = ( 2 - 4)+( - 3 - ( - 1))i
= - 2 - 2i
เอกลักษณ์และตัวผกผันการคูณ
พิจารณาการคูณจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้
(a, b) (1, 0) = 

= (a - 0 , 0+b)
= (a, b)
ทำนองเดียวกัน (1 , 0)(a, b) = (a, b)
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า (1, 0) เป็นเอกลักษณ์การคูณในระบบจำนวนเชิงซ้อน
ถ้า (a , b) เป็นจำนวนเชิงซ้อนซึ่งไม่เท่ากับ (0 , 0) ตัวผกผันการคูณของ (a, b) คือจำนวนเชิงซ้อนที่คูณกับ (a , b) แล้ว ได้ (1, 0) ซึ่งหาได้ดังนี้
ให้ (x, y) เป็นตัวผกผันการคูณของ (a ,b)
จะได้ (a, b) (x, y) = (1 , 0)
แต่ (a, b) (x, y) = (ax - by, bx+ay)
ดังนั้น (ax - by, bx+ay) = (1, 0)
จากบทนิยมจะได้ ax - by = 1
และ bx+ay = 0
โดยการแก้ระบบสมการ
จะได้ X =
และ Y = 


ดังนั้น (X,Y) =

ตรวจสอบว่า
เป็นตัวผกผันการคูณของ (a, b) ได้ดังนี้
.png)
= (1, 0)

=

= (1,0)
และ
(a , b) = (1, 0)
.png)
ดังนั้น ตัวผกผันการคูณของ (a , b) คือ .png)
.png)
ตัวผกผันการคูณของ z เขียนแทนด้วย Z-1
เมื่อเขียน z = a+bi จะได้ว่า Z-1 =

ตัวอย่างที่ 3 ตัวผกผันการคูณของ (4,-3) คือ .png)
.png)
ตัวผกผันการคูณของ - 3+2i คือ 

การหารจำนวนเชิงซ้อน
เมื่อกำหนดจำนวนเชิงซ้อนที่ไม่เท่ากับ(0, 0) มาให้ จะหาตัวผกผันการคูณของจำนวนเชิงซ้อนนี้ได้เสมอ ดังนั้นอาจนิยามการหารจำนวนเชิงซ้อน z ด้วย wเมื่อ W
(0,0) โดยอาศัยตัวผกผันการคูณของจำนวนเชิงซ้อนที่เป็นตัวหารได้ดังนี้

บทนิยาม
สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z, w ใดๆ

ซึ่ง
และอาจเขียนแทน
ด้วย 



จากบทนิยาม ถ้า z = a+bi และ w = c+di
แล้ว
= 
.png)

= 

ตัวอย่างที่ 4 > จงหา

วิธีทำ
= 
.png)

= 

= 

สังเกตว่าถ้า z = a+bi เป็นจำนวนเชิงซ้อนแล้วผลคูณของ z กับจำนวนเชิงซ้อน w = a - bi ซึ่งต่างจาก z เพียงเครื่องหมายของส่วนจินตภาพจะเป็นจำนวนจริงเพราะว่า
เราจึงนำความจริงนี้ช่วยในการหาผลหารของจำนวนเชิงซ้อนได้อีกวิธีหนึ่งดังนี้

ถ้า Z1 = a + bi และ Z2 = c + di
0 เป็นจำนวนเชิงซ้อน แล้ว
.png)

เช่น
เป็นต้น

บทนิยาม ให้ z = a+bi เป็นจำนวนเชิงซ้อน จะเรียกจำนวนเชิงซ้อน
a - bi ว่าเป็นสังยุค (conjugate) ของ z และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 

นั่นคือ 

สมบัติของสังยุคของจำนวนเชิงซ้อน
ให้ z, z1 และ z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อน จะได้ว่า
1) Re (z) =
และ 


2) 

3) ถ้า
แล้ว 


4) 

5) 

6) 

7)

พิสูจน์ เราพิจารณาเพียงข้อ 1, 3, 4, 7 ส่วนข้ออื่น จะละไว้เป็นแบบฝึกหัดให้ z เป็นจำนวนเชิงซ้อน โดยที่ z = a + bi จะได้
ทำให้ได้ว่า


= Re(z)
และ 

= Im (z)
3) ให้ z
0 จะได้ a และ b ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน ทำให้ได้ว่า
.png)

และ 

ดังนั้น 

4) ให้ z1 ,z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อน โดยที่ z1= a + bi และ z2 = c + di
จะได้ z1 + z2 = (a + bi ) + (c + di)
= (a +c) + ( b + d )i
นั่นคือ
= ( a + c ) – ( b + d )i

= (a – bi ) + ( c – di )
= 

ดังนั้น

7) ให้ z1 , z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อน โดยที่ Z2
0
.png)
ดังนั้น
= 


=
จากข้อ (6)

=
จากข้อ (3)

= 

ตัวอย่างที่ 5 จงใช้สังยุคของตัวหารช่วยในการหาผลหารของการหาร 2 - i ด้วย 3 + 2i
วิธีทำ
= 


= 

= 

= 

ตัวอย่างที่ 6 จงหาจำนวนเชิงซ้อน z ที่สอดคล้องสมการ (2+3i)z = - 1 - 2i
วิธีทำ จาก (2+3i)z = - 1 - 2i จะได้
Z = 

= 

= 

= 

No comments:
Post a Comment