จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว

 จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว (Pliar From of Complex Numbers)   

            จากบทนิยามการคูณและการหารากที่สองของจำนวนเชิงซ้อน จะเห็นว่า การคูณจำนวนเชิงซ้อนหลายๆ จำนวน หรือยกกำลัง หรือรากที่ ของจำนวนเชิงซ้อนมีความยุงยากซับซ้อน   เราจึงหาวิธีการอื่นๆ มาช่วยให้แก้ปัญหานี้ได้ง่ายขึ้น
           ถ้า    เป็นจำนวนเชิงซ้อน   จะสามารถเขียนแทน ด้วย เวกเตอร์ระนาบได้ดังนี้
           เมื่อกำหนด   เป็นมุมบวกที่เล็กที่สุดซึ่งวัดทวนเข็มนาฬิกาจากแกน ทางด้านบวกไปยัง    และ   แทนระยะทางระหว่างจุดกำเนิด กับ จะได้ความสัมพันธ์ดังนี้
             
           นอกจากนี้เรายังได้ความสัมพันธ์ที่ทำให้ค่า และ  จาก และ ดังนี้
                
           ดังนั้นจึงอาจเขียนจำนวนเชิงซ้อน ได้ในรูปใหม่เป็น
                    
           เรียกรูปแบบการเขียนจำนวนเชิงซ้อนที่เขียนในรูป   ว่าเป็นรูปเชิงขั้ว (polar from) ของ และเรียก  ว่า อาร์กิวเมนต์ (argument) ของ สังเกตว่าเมื่อ เป็นจำนวนเต็มใดๆ
           ดังนั้น              แสดงว่าถ้า    เป็นอาร์กิวเมนต์ของจำนวนเชิงซ้อน แล้ว   เป็นอาร์กิวเมนต์ของ ด้วย สำหรับทุกจำนวนเต็ม n
           นอกจากนั้น   ถ้า      และ   เป็นจำนวนเชิงซ้อน   จะได้ว่า   z1 = z2  ก็ต่อเมื่อ r1 = r2 และ    เมื่อ เป็นจำนวนเต็ม

ตัวอย่างที่  1   จงเขียนจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเชิงขั้ว
                                    
วิธีทำ   1) ให้      เป็นรูปเชิงขั้วของ 2 - 2i   จะได้ว่า
                                    
                         เนื่องจาก      จึงได้ว่า    ที่ทำให้    
                         ดังนั้น   รูปเชิงขั้วรูปหนึ่งของ 2+2i คือ   และรูปเชิงขั้วอื่นของ 2 + 2i  คือ                                                                                                         เมื่อ  
            2)  ให้                                                         
และ  ที่ทำให้    เพราะจุด   อยู่ในควอดรันต์ที่ 4  ดังนั้น   รูปเชิงขั้วของ  คือ
                                  
                        
           3) ให้   

                                                                                   
   และ  ที่ทำให้ อยู่ในควอดรันต์ที่2 ดังนั้น รูปเชิงขั้วของ    คือ
                                   
        4) ให้ 
                                     
                          เนื่องจาก   
                          ควอดรันต์ที่ 3 จึงได้ว่า    ที่ทำให้    
                          ดังนั้น   รูปเชิงขั้วของ 
                                     

ตัวอย่างที่  2  จงหาค่า และ    เมื่อกำหนด  
วิธีทำ       
           ที่กล่าวมาข้างต้น   เป็นการกล่าวถึงรูปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน   สำหรับ z = 0เราจะให้รูปเชิงขั้วคือ
             เป็นมุมขนาดใดก็ได้
           ซึ่งในกรณีนี้   จะเห็นได้ว่า   ถ้า      เมื่อ เป็นจำนวนเต็ม
            การเขียนจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว   จะทำให้การคำนวณผลคูณหรือการยกกำลังต่างๆ ทำได้ง่ายขึ้น   ดังจะแสดงให้เห็นในทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบท 


พิสูจน์   1)            
                                            
                                           
            
  

ตัวอย่างที่  3   จงเขียนจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูป   x + yi เมื่อ x , y เป็นจำนวนจริง
                                        
                                         
วิธีทำ   1) ให้      
                                
                                
                                                
                                                
                                                
                                                
                                                
                    
                                                                     
สูตรการคูณของจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว จะเห็นว่า
      แล้ว
       จึงสรุปเป็นทฤษฎีบทได้ดังนี้

 ทฤษฎีบทของเดอมัวร์ (De Moivre’s Theorem)  

            ถ้า   เป็นจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว และ เป็นจำนวนเต็มบวกแล้ว       

ถ้า      
กรณีนี้ทฤษฎีบทของเดอมัวร์ยังคงเป็นจริง สำหรับ n = 0 เพราะ r0 = 1  
            cos 0   =   1    และ   sin 0   =   0   ดังนั้น
               
เมื่อ เป็นจำนวนเต็มลบ   ให้ k =  - n
จะได้ว่า เป็นจำนวนเต็มบวก และ      
                                                
เพราะฉะนั้นทฤษฎีบทของเดอมัวร์เป็นจริงสำหรับทุกจำนวนเต็ม จึงสรุปได้ว่า

ถ้า     และ n  เป็นจำนวนเต็มแล้ว
       

ตัวอย่างที่  4   จงเขียน    ในรูป x + yi เมื่อ  
วิธีทำ      เพราะว่า  เขียนได้ในรูป     
                             ดังนั้น โดยทฤษฎีบทของเดอมัวร์ จะได้ว่า
                              
                                                                   
  = 531441[ - 1+i(0)]
                                                                     
=  - 531441
ที่มาของเนื้อหา :  http://www.vcharkarn.com/lesson/1559


No comments:

Post a Comment