รากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน (The nth Roots of Complex Number)

ตัวอย่างที่ จงหารากที่ 3 ของ 1
วิธีทำ เนื่องจาก 1 = 1+0i = 1(cos 0 + isin 0)
ถ้าให้
เป็นรากที่สามของ 1
.png)
โดยทฤษฎีบทของเดอมัวร์ จะได้

ฉะนั้น r3 = 1 และ

จึงได้ว่า r = 1 และ
เมื่อ k เป็นจำนวนเต็ม

นั่นคือ
.png)
ฉะนั้น

เมื่อ k = 0 จะได้ z1 = 1
เมื่อ k = 1 จะได้ 

เมื่อ k = 2 จะได้

เมื่อแทนค่า k ด้วยจำนวนเต็มอื่นๆ จะได้จำนวนเชิงซ้อนที่ซ้ำกับ z1, z2, z3 แสดงว่ารากที่ 3 ของ 1 คือ z1, z2, z3 เท่านั้น
แผนภาพของรากที่ 3 ของ 1 แสดงได้โดยวงกลมรัศมีหนึ่งหน่วย ดังนี้

สังเกตว่าเวกเตอร์ที่แทนรากที่ 3 ของ 1 แต่ละคู่ที่อยู่ในลำดับติดกัน ทำมุมขนาด
เท่ากันทุกคู่
.png)
ตัวอย่างที่ 2 จงหารากที่ 6 ของ 64
วิธีทำ เนื่องจาก

ถ้าให้
เป็นรากที่ 6 ของ - 64
.png)
โดยทฤษฎีบทของเดอมัวร์ จะได้

ฉะนั้น
และ

.png)
จึงได้ว่า r = 2 และ
เมื่อ k เป็นจำนวนเต็ม

นั่นคือ

ฉะนั้น

เมื่อ k = 0 จะได้

เมื่อ k = 1 จะได้

เมื่อ k = 2 จะได้
.png)
เมื่อ k = 3 จะได้

เมื่อ k = 4 จะได้
.png)
เมื่อ k = 5 จะได้
.png)
เมื่อแทนค่า k ด้วยจำนวนเต็มอื่นๆ จะได้จำนวนเชิงซ้อนที่ซ้ำกับ z1, z2, …, z6 แสดงว่ารากที่ 6 ของ - 64 คือ z1, z2, …, z6 เท่านั้น
แผนภาพของรากที่ 6 ของ - 64 แสดงได้โดยวงกลมรัศมียาว 2 หน่วย ดังนี้

.png)
.png)
ตัวอย่างที่ 3 จงหารากที่ 4 ของ

วิธีทำ ให้

ดังนั้น

โดยทฤษฎีบทของเดอมัวร์ จะได้
.png)
ดังนั้น

จึงได้ว่า

ฉะนั้น

เมื่อ k = 0 จะได้ว่า

เมื่อ k = 1 จะได้ว่า

เมื่อ k = 2 จะได้ว่า

เมื่อ k = 3 จะได้ว่า

แผนภาพของรากที่ 4 ของ
แสดงได้โดยวงกลมรัศมียาว
หน่วย ดังนี้



จากตัวอย่างทั้งสาม สามารถสรุปเป็นทฤษฎีบทได้ดังนี้
ทฤษฎีบท ถ้า
แล้วรากที่ n ของ w มีทั้งหมด n ราก ที่แตกต่างกันคือ 

No comments:
Post a Comment