รากที่สองของจำนวนเชิงซ้อน (square Roots of Compkex Numbers)
ในหัวข้อนี้ จะแสดงการหารากที่สองของจำนวนเชิงซ้อนใด ๆ และหาคำตอบของสมการกำลังสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนจริง
ให้ z เป็นจำนวนเชิงซ้อนใดๆ รากที่สองของ z คือ จำนวนเชิงซ้อน w ซึ่ง w2 = z สังเกตว่า ถ้า w เป็นรากที่สองของ z แล้ว - w จะเป็นรากที่สองของ zด้วย และรากที่สองของจำนวนเชิงซ้อนที่ไม่ใช่ศูนย์จะมีเพียงสองจำนวนเท่านั้น
ต่อไปนี้จะแสดงวิธีหาสูตรเพื่อใช้ในการหารากที่สองของจำนวนเชิงซ้อนใดๆ
ให้ z = x+ yi เป็นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง x และ y เป็นจำนวนที่ไม่ใช่ศูนย์ พร้อมกัน และให้ w = a + bi เป็นรากที่สองของ z
ดังนั้น z = x + yi = w2 = (a + bi)2 = (a2 – b2) + 2abi
จึงทำให้ได้ a2 – b2 = x ..........(1)
และ 2ab = y ……...(2)
ดังนั้น (a2 + b2)2 = a4 + 2a2b2 + b4 = (a4 – 2a2b2 + b4) + 4a2b2
x2 + y2
จะได้ a2 + b2 =
...........(3)

ถ้านำสมการ (1) + (3) จะได้ a2 =
และ
.png)
ถ้านำสมการ (3) - (1) จะได้ b2 =
และทำให้ได้

a =
และ b = 


แต่รากที่สองของ z มีเพียงสองจำนวนเท่านั้น เราจึงต้องเลือกเครื่องหมายของ a และ b ให้ถูกต้องโดยสังเกตจากสมการ (2) ซึ่งแสดงว่า 2ab = y นั่นคือ เครื่องหมายของผลคูณ ab ต้องเหมือนกับเครื่องหมายของ y เราเลือก a และ b ดังนี้
ถ้า y
0 รากที่สองของ z คือ


ถ้า y < 0 รากที่สองของ z คือ

เราจึงสรุปเป็นทฤษฎีบทได้ดังนี้
ทฤษฎีบท กำหนดจำนวนเชิงซ้อน z = x+ yi และให้
r =
จะได้ว่ารากที่สองของ z คือ
วิธีทำ ให้ z = - 7 - 24i เมื่อเทียบกับ x + yi ในทฤษฎีบทจะได้ว่า x = - 7 และ y = - 24ตัวอย่างที่ 1 จงหารากที่สองของ - 7 - 24i

.png)
วิธีทำ ให้ z = - 7 - 24i เมื่อเทียบกับ x + yi ในทฤษฎีบทจะได้ว่า x = - 7 และ y = - 24ตัวอย่างที่ 1 จงหารากที่สองของ - 7 - 24i
และ 

เนื่องจาก y < 0 ดังนั้นรากที่สองของ - 7 - 24i คือ

ดังนั้นรากที่สองของ - 7 - 24i คือ - 3 - 4i และ - 3+4i
ในกรณีที่จำนวนเชิงซ้อนเป็นจำนวนจริงลบ การหารากที่สองสามารถทำได้โดยง่ายดังนี้
ให้ z = - a เมื่อ a เป็นจำนวนจริงบวก จะได้ว่ารากที่สองของ z คือ
และ 


เช่น รากที่สองของ - 9 คือ 3i และ - 3i
รากที่สองของ - 5 คือ
และ 


เราจะนำความรู้เรื่องรากที่สองของจำนวนจริงลบไปใช้ เพื่อหาคำตอบของสมการกำลังสองได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 2 จงหาสูตรสำหรับคำตอบของสมการพหุนามกำลังสอง ax2 + bx + c = 0
เมื่อ a , b และ c เป็นจำนวนจริงใดๆ และ
เมื่อ a , b และ c เป็นจำนวนจริงใดๆ และ

วิธีทำ จาก ax2 + bx + c = 0 โดยที่ .png)
.png)
จะได้ 



ถ้า
จะได้ 



ดังนั้น
หรือ


แต่ถ้า
จะได้ 




ดังนั้น
หรือ .png)

.png)
นั่นคือคำตอบของสมการพหุนาม ax2 + bx +c = 0 เมื่อ a, b และ c
เป็นจำนวนจริง โดยที่
คือ
เมื่อ 
.png)


และคือ
เมื่อ .png)
.png)
.png)
ตัวอย่างเช่น ในการหาคำตอบของสมการพหุนาม 2x2 – 3x +6 = 0 เราจะทำดังนี้จากสมการพหุนามที่กำหนดเมื่อทเยบกับสมการ ax2 + bx + c = 0
จะได้ a = 2, b = - 3 และ c = 6
ฉะนั้น b2-4ac (-3)2-(4)(2)(6) = - 39 ซึ่ง - 39 < 0
จะได้

ดังนั้น คำตอบของพหุนามนี้คือ
และ


ตัวอย่างที่ 3 จงหาเซตคำตอบของสมการ x6-1 = 0
วิธีทำ จาก x6 – 1 = 0
จะได้ (x3 + x) (x3 – 1 ) = 0
(x – 1 ) (x2 – x + 1) (x – 1 ) (x2 + x + 1) = 0
ดังนั้น x = - 1 หรือ x =1 หรือ x2 – x + 1 หรือ x2 + x + 1 = 0
จาก x2 – x +1 = 0
จะได้
หรือ 


และจาก x2 + x + 1 = 0
จะได้
หรือ 


ดังนั้น เซตคำตอบของสมการที่กำหนดคือ

ตัวอย่างที่ 4 จงหาคำตอบทั้งหมดของสมการต่อไปนี้
1) 2x2 + 6 = 0
2) 3z2 + 5z 3 = 0
3) (2 – i ) z2 + 1 – 2i = 0
วิธีทำ 1) เราอาจใช้การแยกตัวประกอบในการหาคำตอบของสมการได้ดังนี้
วิธีทำ 1) เราอาจใช้การแยกตัวประกอบในการหาคำตอบของสมการได้ดังนี้

เพราะฉะนั้น
เป็นคำตอบของสมการ


2) สำหรับสมการนี้เราจะใช้สูตรหาคำตอบของสมการกำลังสองที่กล่าวไว้ในตัวอย่างที่ 2 ดังนี้
เนื่องจาก 52 – 4 (3)(3) = 25 – 36 = - 11 ซึ่ง - 11 < 0 ดังนั้น คำตอบของสมการคือ

นั่นคือ
และ
เป็นคำตอบของสมการ


3) จาก (2 – i ) z2 + 1 – 2i = 0 จะได้



เนื่องจาก
ดังนั้นรากที่สองของ
คือ

.png)

ฉะนั้นคำตอบของสมการคือ
และ 


No comments:
Post a Comment